บทความทั้งหมด

ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือ KPI เป็นเครื่องมือสำคัญในยุค New Normal ซึ่ง HR ต้องกำหนดประเภทงานที่สามารถทำงานจากที่บ้าน (WFH) หรือที่ใดก็ได้ (WFA) และงานที่ต้องเข้าสำนักงาน เพื่อให้การกำหนด PMS มีประสิทธิภาพ โดย PMS สำหรับงาน WFH ควรเน้นการวัดผลลัพธ์และพฤติกรรมในการทำงาน พร้อมกำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการจ้างงานและผลตอบแทน

ในยุคสมัยที่บริบททางธุรกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แต่เป้าหมายที่จะนำองค์กรสู่ความยั่งยืนนั้นไม่เปลี่ยน องค์กรจึงต้องกลับมาใส่ใจและให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพด้านทรัพยากรบุคคลอย่างจริงจังและต่อเนื่องมากขึ้น เพราะแผนการทำงานที่ดีย่อมมี ‘คน’ เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ โจทย์ใหม่ขององค์กรจึงเป็นเรื่องของการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) เรื่องคน (People) ที่ยั่งยืน (Sustain) มาร่วมหาคำตอบพร้อมกันจากงาน SCG HR Solutions THE PEOPLE GURU: Sustain People Competitiveness เปิดกลยุทธ์การบริหารและพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อความสำเร็จอย่างยั่งยืน ทั้งเรื่องที่ HR ต้องรู้และผู้นำต้องทำจาก 6 Speakers ที่เป็นผู้บริหารจากบริษัทชั้นนำมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ เปิดเผยกลยุทธ์การบริหารคนที่ได้ผล รวมถึงวิธีการสร้างผู้นำในโลกยุคใหม่ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้องค์กรต่าง ๆ นำความรู้ไปปรับใช้ เพื่อเกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง และส่งต่อความสามารถในการแข่งขันนี้ไปในระดับประเทศ

งาน HR ไม่ว่าจะทำหน้าที่ไหนก็คงหนีไม่พ้นงานเอกสาร ต้องเตรียมปากกาและกระดาษให้พร้อมจดอยู่เสมอ ต้องมีสกิลการใช้ Microsoft Word หรือ Excel ที่ดูเหมือนจะช่วยทุ่นแรงแต่สุดท้ายก็ต้องกรอกข้อมูลเดิมซ้ำไปซ้ำมา แถมยังต้อง Print เอกสารออกมากองไว้จนล้นโต๊ะทำงาน ..

PDPA คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร ?

มีความสามารถที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ อย่างชัดเจน ชัดเหมือนมีออร่าสว่างออกมาจากพนักงานคนนั้นเลย คุณจะทำอย่างไร? เราจะพาคุณมาทำความรู้จัก "ระบบบริหารจัดการคนเก่ง หรือที่เรียกว่า Talent Management System : TMS"

ในแต่ละปี หลายองค์กรมักพบเจอการลาออกของพนักงานไม่มากก็น้อย ไม่เว้นแม้แต่ตำแหน่งผู้บริหาร หรือ CEO

เป็นเรื่องยาก กว่าจะสร้างสรรค์ไอเดียสุดเจ๋งออกมา แต่การโน้มน้าวให้ผู้อื่นสนใจไอเดียเหล่านี้นั้นยากกว่า จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า Pitching ที่ความหมายเปลี่ยนไปตามบริบทที่ใช้ แต่หลักๆ คือ การโน้มน้าวให้ผู้ฟังทำตามที่คุณต้องการนั่นเองค่ะ เช่น

ในบทบาทที่เป็นผู้นำทีม คุณเคยสำรวจสมาชิกในทีมหรือไม่ ว่าพวกเขายังรู้สึกมีจุดมุ่งหมายในการทำงาน?

ตั้งแต่การรักษาพนักงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและมีส่วนร่วมให้ทำงานกับองค์กรต่อไป จนถึงการสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานที่มีประสิทธิภาพในการทำงานน้อย

การโค้ช ไม่ได้หมายถึงการช่วยทำงานนั้นๆ ให้สำเร็จโดยตรง แต่เป็นการเข้าไปพัฒนา ดึงศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคลนั้นออกมา

การค้นหาคนเก่งที่มีพรสวรรค์ ให้เข้ามาทำงานกับองค์กร ไปจนถึงการรักษาให้คนกลุ่มนี้อยากทำงานกับองค์กรต่อไป

เป็นสิ่งที่ดูง่าย ใครก็สามารถทำได้ แต่ในความจริงหากกำหนดสิ่งที่ต้องการไม่ชัดเจน ก็อาจทำให้เป้าหมายไม่สำเร็จได้เช่นกัน

พร้อมจะบีบอัดลูกทีมเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ตึงเครียด หรือผู้นำที่ควบคุมอารมณ์ได้ต่อทุกสภาพปัญหา และคิดหาวิธีแก้ไขสถานการณ์อย่างชาญฉลาด

ในปัจจุบันผู้คนได้เริ่มทิ้งงานประจำ เข้าสู่วงการฟรีแลนซ์มากขึ้น เพราะสามารถกำหนดสไตล์การทำงานได้เอง บวกกับเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยให้การทำงานง่ายกว่ายุคก่อนๆ ทำที่ไหน ตอนไหนก็ได้

เคยเกิดคำถามเหล่านี้ไหมคะ? ว่าทำไมพนักงานจึงลาออกเยอะ ทำไมประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานไม่พัฒนาขึ้นเลย

เพราะสิ่งนี้คือแรงจูงใจสำคัญ ที่ช่วยดึงดูดและรักษาให้พนักงานที่มีความสามารถอยากทำงานในบริษัทแห่งนี้ ซึ่งส่งผลให้ธุรกิจเติบโตได้

ตอนทำงานมักจะเจอคำว่า Coach ที่แปลว่า ผู้สอนงาน และตามติดมาด้วยคำว่า Mentor

การพัฒนาองค์กรให้เหนือกว่าคู่แข่งว่ายากแล้ว แต่การบริหารคนในองค์กรให้มีประสิทธิภาพก็ยากพอๆ กัน

Business Model Canvas อีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญของคนทำธุรกิจ ที่ทำให้การวางแผนเป็นระบบและพัฒนาไปได้ไกลมากขึ้น

การ Feedback ให้ลูกน้องทราบเกี่ยวกับการทำงาน ไม่ว่าจะด้านบวกหรือลบ คงจะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นบ่อยๆ กับหัวหน้า

เมื่อพนักงานทุกฝ่ายในองค์กรต้องการบรรลุเป้าหมายเดียวกัน มีแรงจูงในการทำงาน ต้องการสร้างผลงานที่มีคุณภาพ จะทำให้องค์กรเติบโตขึ้น ส่งผลให้มีกำไรมากขึ้น ซึ่งผลกำไรที่ได้ก็จะกลับคืนสู่พนักงานทุกคน เป็นแรงจูงใจในการทำงานต่อไป

“Stay Hungry, Stay Foolish” จงกระหายและทำตัวให้เหมือนคนโง่เขลา

เมื่อพนักงานมีความผูกพันกับที่ทำงานมาก พวกเขาจะเกิดความรู้สึกอยากทุ่มเท รับผิดชอบ รวมถึงการสร้างผลงานดีๆ ให้กับองค์กร ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้องค์กรก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน นี่จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไมการมีส่วนร่วมของพนักงานจึงมีความสำคัญนั่นเองค่ะ

ทุกวันนี้การค้นหาคนเก่งเข้ามาทำงานอยู่ในองค์กรคงไม่ใช่เรื่องยาก

การบริหารจัดการไม่ใช่เรื่องง่าย ในองค์กรจึงมีลำดับชั้นโครงสร้างองค์กร สำหรับความรู้ ประสบการณ์และทักษะของพนักงานแต่ละคนมีอยู่ คุณต้องมีสิ่งเหล่านี้มากพอ หากต้องการไต่จากระดับล่างสุด สู่ระดับกลาง จนถึงระดับบนสุดของปีรามิดการบริหารจัดการ

การเป็น HR ไม่ได้มีหน้าที่แค่จัดเอกสารและหาพนักงานใหม่เท่านั้น แต่เป็นฝ่ายที่มีความสำคัญกับองค์กรมาก เพราะ HR จะต้องจัดการและดูแลบุคลากรทั้งหมดในองค์กร ซึ่งสิ่งที่ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรไปข้างหน้าได้ ก็คือคนเหล่านี้นั่นเอง

แม้คำจะมีความหมายคล้ายกัน แต่จะเห็นความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเมื่อทำงานจริงค่ะ

การโค้ช (Coaching) ไม่ใช่การมาบอกวิธีทำงานหรือวิธีแก้ปัญหาโดยตรง แต่เป็นเหมือนกระจกให้กับผู้ที่ถูกโค้ช ที่คอยสะท้อนความคิด ปรับมุมมอง สร้างแรงจูงใจ และใช้คำถาม เพื่อให้ผู้ที่ถูกโค้ชซึ่งมีศักยภาพที่ซ่อนอยู่มากพอ ได้คิด ได้ตัดสินใจอย่างถี่ถ้วนและชัดเจนขึ้นด้วยตัวพวกเขาเอง

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้