ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือ KPI เป็นเครื่องมือสำคัญในยุค New Normal ซึ่ง HR ต้องกำหนดประเภทงานที่สามารถทำงานจากที่บ้าน (WFH) หรือที่ใดก็ได้ (WFA) และงานที่ต้องเข้าสำนักงาน เพื่อให้การกำหนด PMS มีประสิทธิภาพ โดย PMS สำหรับงาน WFH ควรเน้นการวัดผลลัพธ์และพฤติกรรมในการทำงาน พร้อมกำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการจ้างงานและผลตอบแทน
ในยุคสมัยที่บริบททางธุรกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แต่เป้าหมายที่จะนำองค์กรสู่ความยั่งยืนนั้นไม่เปลี่ยน องค์กรจึงต้องกลับมาใส่ใจและให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพด้านทรัพยากรบุคคลอย่างจริงจังและต่อเนื่องมากขึ้น เพราะแผนการทำงานที่ดีย่อมมี ‘คน’ เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ โจทย์ใหม่ขององค์กรจึงเป็นเรื่องของการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) เรื่องคน (People) ที่ยั่งยืน (Sustain) มาร่วมหาคำตอบพร้อมกันจากงาน SCG HR Solutions THE PEOPLE GURU: Sustain People Competitiveness เปิดกลยุทธ์การบริหารและพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อความสำเร็จอย่างยั่งยืน ทั้งเรื่องที่ HR ต้องรู้และผู้นำต้องทำจาก 6 Speakers ที่เป็นผู้บริหารจากบริษัทชั้นนำมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ เปิดเผยกลยุทธ์การบริหารคนที่ได้ผล รวมถึงวิธีการสร้างผู้นำในโลกยุคใหม่ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้องค์กรต่าง ๆ นำความรู้ไปปรับใช้ เพื่อเกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง และส่งต่อความสามารถในการแข่งขันนี้ไปในระดับประเทศ
งาน HR ไม่ว่าจะทำหน้าที่ไหนก็คงหนีไม่พ้นงานเอกสาร ต้องเตรียมปากกาและกระดาษให้พร้อมจดอยู่เสมอ ต้องมีสกิลการใช้ Microsoft Word หรือ Excel ที่ดูเหมือนจะช่วยทุ่นแรงแต่สุดท้ายก็ต้องกรอกข้อมูลเดิมซ้ำไปซ้ำมา แถมยังต้อง Print เอกสารออกมากองไว้จนล้นโต๊ะทำงาน ..
มีความสามารถที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ อย่างชัดเจน ชัดเหมือนมีออร่าสว่างออกมาจากพนักงานคนนั้นเลย คุณจะทำอย่างไร? เราจะพาคุณมาทำความรู้จัก "ระบบบริหารจัดการคนเก่ง หรือที่เรียกว่า Talent Management System : TMS"
ในแต่ละปี หลายองค์กรมักพบเจอการลาออกของพนักงานไม่มากก็น้อย ไม่เว้นแม้แต่ตำแหน่งผู้บริหาร หรือ CEO
เป็นเรื่องยาก กว่าจะสร้างสรรค์ไอเดียสุดเจ๋งออกมา แต่การโน้มน้าวให้ผู้อื่นสนใจไอเดียเหล่านี้นั้นยากกว่า จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า Pitching ที่ความหมายเปลี่ยนไปตามบริบทที่ใช้ แต่หลักๆ คือ การโน้มน้าวให้ผู้ฟังทำตามที่คุณต้องการนั่นเองค่ะ เช่น
ในบทบาทที่เป็นผู้นำทีม คุณเคยสำรวจสมาชิกในทีมหรือไม่ ว่าพวกเขายังรู้สึกมีจุดมุ่งหมายในการทำงาน?
ตั้งแต่การรักษาพนักงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและมีส่วนร่วมให้ทำงานกับองค์กรต่อไป จนถึงการสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานที่มีประสิทธิภาพในการทำงานน้อย
การโค้ช ไม่ได้หมายถึงการช่วยทำงานนั้นๆ ให้สำเร็จโดยตรง แต่เป็นการเข้าไปพัฒนา ดึงศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคลนั้นออกมา
การค้นหาคนเก่งที่มีพรสวรรค์ ให้เข้ามาทำงานกับองค์กร ไปจนถึงการรักษาให้คนกลุ่มนี้อยากทำงานกับองค์กรต่อไป
เป็นสิ่งที่ดูง่าย ใครก็สามารถทำได้ แต่ในความจริงหากกำหนดสิ่งที่ต้องการไม่ชัดเจน ก็อาจทำให้เป้าหมายไม่สำเร็จได้เช่นกัน
พร้อมจะบีบอัดลูกทีมเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ตึงเครียด หรือผู้นำที่ควบคุมอารมณ์ได้ต่อทุกสภาพปัญหา และคิดหาวิธีแก้ไขสถานการณ์อย่างชาญฉลาด
ในปัจจุบันผู้คนได้เริ่มทิ้งงานประจำ เข้าสู่วงการฟรีแลนซ์มากขึ้น เพราะสามารถกำหนดสไตล์การทำงานได้เอง บวกกับเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยให้การทำงานง่ายกว่ายุคก่อนๆ ทำที่ไหน ตอนไหนก็ได้
เคยเกิดคำถามเหล่านี้ไหมคะ? ว่าทำไมพนักงานจึงลาออกเยอะ ทำไมประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานไม่พัฒนาขึ้นเลย
เพราะสิ่งนี้คือแรงจูงใจสำคัญ ที่ช่วยดึงดูดและรักษาให้พนักงานที่มีความสามารถอยากทำงานในบริษัทแห่งนี้ ซึ่งส่งผลให้ธุรกิจเติบโตได้
ตอนทำงานมักจะเจอคำว่า Coach ที่แปลว่า ผู้สอนงาน และตามติดมาด้วยคำว่า Mentor
การพัฒนาองค์กรให้เหนือกว่าคู่แข่งว่ายากแล้ว แต่การบริหารคนในองค์กรให้มีประสิทธิภาพก็ยากพอๆ กัน
Business Model Canvas อีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญของคนทำธุรกิจ ที่ทำให้การวางแผนเป็นระบบและพัฒนาไปได้ไกลมากขึ้น
“If you want to go fast, go alone. If you want to go far, go together”
การ Feedback ให้ลูกน้องทราบเกี่ยวกับการทำงาน ไม่ว่าจะด้านบวกหรือลบ คงจะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นบ่อยๆ กับหัวหน้า
เมื่อพนักงานทุกฝ่ายในองค์กรต้องการบรรลุเป้าหมายเดียวกัน มีแรงจูงในการทำงาน ต้องการสร้างผลงานที่มีคุณภาพ จะทำให้องค์กรเติบโตขึ้น ส่งผลให้มีกำไรมากขึ้น ซึ่งผลกำไรที่ได้ก็จะกลับคืนสู่พนักงานทุกคน เป็นแรงจูงใจในการทำงานต่อไป
“Stay Hungry, Stay Foolish” จงกระหายและทำตัวให้เหมือนคนโง่เขลา
เมื่อพนักงานมีความผูกพันกับที่ทำงานมาก พวกเขาจะเกิดความรู้สึกอยากทุ่มเท รับผิดชอบ รวมถึงการสร้างผลงานดีๆ ให้กับองค์กร ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้องค์กรก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน นี่จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไมการมีส่วนร่วมของพนักงานจึงมีความสำคัญนั่นเองค่ะ
ทุกวันนี้การค้นหาคนเก่งเข้ามาทำงานอยู่ในองค์กรคงไม่ใช่เรื่องยาก
การบริหารจัดการไม่ใช่เรื่องง่าย ในองค์กรจึงมีลำดับชั้นโครงสร้างองค์กร สำหรับความรู้ ประสบการณ์และทักษะของพนักงานแต่ละคนมีอยู่ คุณต้องมีสิ่งเหล่านี้มากพอ หากต้องการไต่จากระดับล่างสุด สู่ระดับกลาง จนถึงระดับบนสุดของปีรามิดการบริหารจัดการ
การเป็น HR ไม่ได้มีหน้าที่แค่จัดเอกสารและหาพนักงานใหม่เท่านั้น แต่เป็นฝ่ายที่มีความสำคัญกับองค์กรมาก เพราะ HR จะต้องจัดการและดูแลบุคลากรทั้งหมดในองค์กร ซึ่งสิ่งที่ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรไปข้างหน้าได้ ก็คือคนเหล่านี้นั่นเอง
แม้คำจะมีความหมายคล้ายกัน แต่จะเห็นความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเมื่อทำงานจริงค่ะ
การโค้ช (Coaching) ไม่ใช่การมาบอกวิธีทำงานหรือวิธีแก้ปัญหาโดยตรง แต่เป็นเหมือนกระจกให้กับผู้ที่ถูกโค้ช ที่คอยสะท้อนความคิด ปรับมุมมอง สร้างแรงจูงใจ และใช้คำถาม เพื่อให้ผู้ที่ถูกโค้ชซึ่งมีศักยภาพที่ซ่อนอยู่มากพอ ได้คิด ได้ตัดสินใจอย่างถี่ถ้วนและชัดเจนขึ้นด้วยตัวพวกเขาเอง
OKRs ย่อมาจาก Objective and Key Results
การเรียนรู้และพัฒนามีหลายสูตร หลายแนวทางที่เป็นที่ยอมรับและใช้ในองค์กร เช่น ใช้การฝึกอบรมที่เข้มงวด เพื่อปลูกฝังทักษะใหม่ๆ, การใช้เทคโนโลยีเพื่อฝึกอบรม หรือในบางธุรกิจก็ใช้การฝึกอบรมแบบตัวต่อตัว หนึ่งในนั้นคือ โมเดล 70 : 20 : 10 ซึ่งเป็นสูตรที่มีประสิทธิภาพมาก ในการส่งเสริมการเรียนรู้ในที่ทำงาน
ในฐานะหัวหน้า คุณคิดว่าจะรู้ได้ยังไงว่าลูกน้องคนไหนเป็นคนเก่ง เหมาะกับการเป็น Top Talent? เพราะเมื่อมองไปรอบๆ ตัว คุณอาจจะเห็นว่าลูกน้องของคุณก็เก่งนะ ไม่มีใครทำงานแย่เลย